DETAILS, FICTION AND ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Details, Fiction and ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Details, Fiction and ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

บรรณาธิการ : พระมหาประหยัด ปญฺญาวโร, ดร.

"ปลดล็อกกรุงเทพฯ" เมืองหลวงแห่งความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

ในยุคที่เด็กๆ ถูกซ้ำเติมจากวิกฤตรอบด้าน ทั้งความเหลื่อมล้ำ ปัญหาเศรษฐกิจ วิกฤตโรคระบาดที่ทำให้หลายครอบครัวมีรายได้ลดลงหรือถูกเลิกจ้าง และยังต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ซึ่งส่งผลกระทบมาสู่โอกาสทางการศึกษาของเด็กๆ หลายครอบครัวมีค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาของเด็กเพิ่มขึ้น เช่น ค่าใช้จ่ายการเรียนออนไลน์ เนื่องจากไม่ได้มีความพร้อมในการจ่ายค่าอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ ค่าอินเทอร์เน็ต และค่าอุปโภคบริโภคอื่นๆ ถึงแม้ว่า ณ ปัจจุบันโรงเรียนกลับมาเปิดตามปกติแล้วก็ตาม แต่พวกเขาก็ยังจะต้องเจอกับภาวะเงินเฟ้อ ข้าวของแพง ซึ่งดูเหมือนค่าใช้จ่ายยิ่งเพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม รวมถึงภาคประชาชน ควรมีส่วนร่วมในการหาแนวทางแก้ไขให้ช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาลดลง เพื่ออนาคตที่ดีของเยาวชน และสังคมไทยในภายภาคหน้า

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

การเพิ่มจำนวนครูต่อนักเรียนจะทำให้นักเรียนได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น ช่วยลดปัญหาเด็กนักเรียนที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง และช่วยส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน 

This cookie identifies the source of visitors to the ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา site - so Google Analytics can convey to internet site house owners the place site visitors came from when arriving on the site. The cookie provides a daily life span of 6 months and is current when knowledge is distributed to Google Analytics.

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย

นอกจากนี้ ยังพบว่าครูจำนวนมากต้องแบกรับภาระหน้าที่ที่หลากหลาย สวนทางกับอัตราค่าจ้างที่ควรจะได้รับ รวมถึงสวัสดิการที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชนบท จึงทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่เลือกประกอบอาชีพครู ทำให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ และไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จากปัญหาข้างต้นก็อาจสะท้อนได้ในอีกแง่มุมหนึ่งว่า ครูเองก็อาจเป็นผลผลิตมาจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในอดีตด้วยเช่นกัน

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา คือ การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงการศึกษาแตกต่างกัน เนื่องมาจากโครงสร้างทางสังคมอันส่งผลให้เกิดปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน โดยผู้ได้รับการสนับสนุนให้เข้าถึงการศึกษาที่ดีกว่า ย่อมมีโอกาสในการเลือกระดับคุณภาพของการศึกษาที่มากกว่าผู้ที่มีปัจจัยและทรัพยากรที่น้อย โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

Report this page